้อมูลจากหน่วยบริการฐานข้อมูลสมุนไพร สํานักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถนน
ศรีอยุธยา พญาไท กทม. 10400 Tel. 0-2644-8677-91 ต่อ 5305, 5316
การบริโภคนํ้าเกากีฉ่าย (Lycium barbarum , goji) ช่วยเพิ่มปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระในร่างกาย
การทดลองแบบ ramdomized, double-blind, placebo-controlled ในอาสาสมัครชาวจีน
สุขภาพดี อายุระหว่าง 55-72 ปี จํานวน 50 คน (ชาย 25 คน และหญิง 25 คน) แบ่งอาสาสมัคร
ออกเป็ น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 25 คน โดยกลุ่มแรก (ชาย 12 คน และหญิง13 คน) ให้รับประทานนํ้
าเกากี
ฉ่าย 60 มิลลิลิตร วันละ 2 เวลาพร้อมอาหาร (วันละ 120 มิลลิลิตร ที่มีLycium
barbarum polysaccharide 1,632 มิลลิกรัม) นาน 30 วันกลุ่มที่สองให้รับประทานยาหลอกที่มี
สี กลิ่
น รสชาติเหมือนนํ้
าเกากีฉ่ายในเวลาและปริมาณที่เท่ากัน แล้วทําการวัดปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระในเลือดทั้
ง
ก่อนและหลังการทดลอง พบว่ากลุ่มที่รับประทานนํ้
าเกากีฉ่ายมีปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระเปลี่ยนแปลงไปจากการ
ก่อนทดลองอย่างมีนัยสําคัญ โดยมีsuperoxide dismutase และ glutathione
peroxidase เพิ่
มขึ้น 8.4 % และ 9.9 % ตามลําดับ และ malondialdehyde ลดลง 8.7
% เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่รับประทานยาหลอกและกลุ่มที่รับประทานนํ้
าเกากีฉ่าย พบว่ากลุ่มที่รับประทาน
นํ้
าเกากีฉ่ายมีsuperoxide dismutase เพิ่
มขึ้น 8.1 % glutathione
peroxidase เพิ่
มขึ้น 9.0 % และ madondialdehyde ลดลง 6.0 % ซึ่งเป็ นความแตกต่างอย่างมี
นัยสําคัญ และในกลุ่มควบคุมเองไม่พบความแตกต่างระหว่างก่อนและหลังการทดลอง การบริโภคเกากีฉ่ายติดต่อ
กันนาน 30 วันช่วยเพิ่
มปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระในร่างกาย และอาจช่วยป้องกันโรคที่มีสาเหตุเกี่ยวข้องกับการ
เกิดอนุมูลอิสระในร่างกายได้
ฤทธิ์ต้านสารอนุมูลอิสระเพื่อป้องกันเซลล์ตับเป็ นพิษของสารสกัดจากเกากีฉ่าย (Lycium chinense )
ศึกษาฤทธิ์ ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากเกากี่ฉ่าย เพื่อป้องกันการเป็ นพิษของเซลล์ตับ ที่ถูกเหนี่ยวนํา
ด้วยH2O2 และวิเคราะห์หาปริมาณเซลล์ด้วยวิธีMTT ประเมินฤทธิ์ ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธีการเคราะห์ผล
ของ 1,1 ? diphenyl ? 2 ? picrylhydrazyl (DPPH), intracellular ROS,
Hydrogxyl radical และ superoxide วิเคราะห์หาปริมาณเอ็นไซม์ต้านอนุมูลอิสระที่เพิ่
มขึ้นด้วยการ
วิเคราะห์หาปริมาณโปรตีนที่แสดงออก (protein expression) วิเคราะห์ความเสียหายของดีเอ็นเอด้วย
วิธีcomet assay และการแสดงออกของ phosphor-histone H2A.X. และวัดการ
เกิดปฏิกิริยา lipid peroxidation โดยใช้การวิเคราะห์8-isoprostane
level และfluorescent probe
ผลการศึกษาพบว่าสกัดจากเกากี่ฉ่ายมีฤทธิ์ ในการต้านอนุมูลอิสระ และกระตุ้นการทํางานของเอ็นไซม์catalase
(CAT), superoxide dismutase (SOD) และ glutathione peroxidase (GSH ?
Px) ลดลงความเสียหายของดีเอ็นเอ และการเกิดปฏิกิริยา lipid peroxidation นอกจากนี้สารสกัดเกากี่
ฉ่ายยังช่วยเพิ่
มอัตราการมี ชีวิตรอดของเซลล์ตับ โดยยับยั้
งการตายของเซลล์ (apoptosis) ผลการศึกษานี้แสดง
ให้เห็นว่าสารสกัดจากเกากี่ฉ่ายสามารถป้องกันเซลล์ตับ ซึ่งมีสาเหตุมาจากการเกิดสารอนุมูลอิสระได้
J Ethnopharmacol. 2010; 130(2): 299-06
ฤทธิ์ ลดความเป็ นพิษต่อหัวใจจากการใช้ยาต้านมะเร็ง doxorubicin ของสารสกัดจากเกากีฉ่าย
การศึกษาฤทธิ์ ของสารโพลีแซคคาไรด์จากเกากีฉ่ายในการป้องกันความเป็ นพิษต่อหัวใจของหนูแรทที่ถูกเหนี่ยวนํา
ให้เกิดพิษด้วย doxorubicin โดยป้อนสารโพลีแซคคาไรด์ ขนาด 200 มก./กก. เป็ นเวลา 10 วัน จากนั้นใน
วันที่7 ของการทดลอง ทําการฉีด doxorubicin ขนาด 10 มก./กก. เข้าทางหลอดเลือดดําของหนู พบว่าสาร
โพลีแซคคาไรด์จากเกากีฉ่ายมีผลทําให้กล้ามเนื้อหัวใจถูกทําลายน้อยลง ลดระดับของเอนไซม์creatine
kinase และ aspartate aminotransferase ลดระดับของ malondialdehyde แต่เพิ่
ม
ระดับของเอนไซม์superoxide dismutase และ glutathione peroxidase นอกจากนี้สาร
โพลีแซคคาไรด์จากเกากีฉ่ายยังมีผลต้านความเป็ นพิษต่อเซลล์ที่ถูกเหนี่ยวนําให้เกิดพิษด้วย doxorubicin เมื่อ
ทดสอบกับเซลล์cardiac myoblasts H9c2 แต่ไม่มีผลต่อการออกฤทธิ์ ต้านเนื้องอก
ของ doxorubicin เมื่อทดลองในเซลล์มะเร็ง A549 สรุปได้ว่าเกากีฉ่ายมีผลป้องกันความเป็ นพิษต่อหัวใจที่
เกิดจาก doxorubicin ได้ โดยเป็ นผลมาจากฤทธิ์ ในการต้านการเกิดออกซิเดชันของสาร